ระงับการพัฒนา ซูซูกิย้ำแช่แข็งเครื่องยนต์เข้าทางป้องแชมป์โลก

ระงับการพัฒนา

ระงับการพัฒนา ภายใต้วิกฤติโควิด19ส่งผลให้โมโตจีพีออกมาตรการพิเศษ

ระงับการพัฒนา

ระงับการพัฒนา เพื่อช่วย ให้ทุก ทีมลดงบประมาณใน การพัฒนา รถแข่ง โดยเฉพาะ “เครื่องยนต์” ที่ จะถูก “แช่แข็ง” ห้ามไม่ให้มีการ พัฒนา โดยทุก ทีมจะต้องใช้ เครื่องยนต์เดิม ไปจนกว่าจะถึง ฤดูกาล 2022

แน่นอนว่า นี่คือ ปัจจัยสำคัญที่ สร้างความ ยากลำบาก ให้กับทุกทีม ใน การยกระดับ ศักยภาพของ รถแข่งในช่วง “วินเทอร์เทสต์” ซึ่งจะมีขึ้นเพียง 5 วันที่ กาตาร์ หลังจากที่ โปรแกรมของ เซ ปัง ถูกยกเลิกไป ข่าวโมโตจีพีวันนี้

จากมาตรการ ดังกล่าว ทำให้เชื่อว่าเป็นงาน ยากสุดๆ ที่ทีม คู่แข่งอย่าง ฮอนด้า, ยามา ฮ่า, ดูคา
ติ และ เคทีเอ็ม จะ พัฒนารถแข่ง ขึ้นมาเทียบเท่า ศักยภาพ ของซูซูกิ ได้ในปี 2021 หลังจากที่
พวกเขาแสดงให้ เห็นถึงความ แข็งแกร่งในปี 2020 จนคว้า แชมป์โลกมา ครองได้ สำเร็จ จากผล
งานของ โจอัน เมียร์

อย่างไรก็ดี หัวหน้าโปรเจ็กต์ โมโตจีพี ของซูซูกิ อย่าง ชินอิ จิ ซาฮาระ กลับ ไม่เห็นด้วยกับ มุมนี้เท่าใดนัก โดยเขากล่าวว่า การแช่แข็งการ พัฒนาก็
ส่งผลต่อการยกระดับ บางอย่างของ ซูซูกิเช่นกัน รวมถึงเป็นการ หยุดไอเดีย ใหม่ๆ ของพวก เขาด้วย แม้จะ ยอมรับว่า รถแข่ง จีเอส เอ็กซ์-อาร์อาร์
ในปี 2020 นั้น “ไม่ได้เลวร้าย อะไรก็ตาม” ระงับการพัฒนา

“ผมขอบอกเลย ว่าไม่เห็นด้วย” ซาฮาระเผย

ในมุมของ วิศวกร เรา มักจะมีไอเดีย ใหม่ๆ เพื่อทำให้ รถแข่งดีขึ้น เสมอ แต่โชคดีที่ แพ็คเกจรถแข่ง ของเราในปี 2020 ไม่ได้ เลวร้ายนัก ระงับการพัฒนา

ดังนั้นเรา จะต้อง ระมัดระวัง และ พิถีพิถันเป็น พิเศษในการ พัฒนาแต่ละจุด ว่าเราสามารถ แตะต้องจุดไหน ได้บ้าง” ยอด วิศวกรชาวญี่ปุ่น เผย

อย่างไรก็ตาม คุณไม่มีทางรู้ เลยว่ากฎใหม่ที่ จะมีในอนาคต จะกระทบต่อสิ่ง ต่างๆ อย่างไร บ้าง แต่ผมคิด ว่ามันก็เป็น สถานการณ์ เดียวกับที่ค่าย ผู้ผลิตทุกราย ต้องเจอ ดูบอลสด

นั่นคือ มีกฎเดียว สำหรับทุกทีม ดังนั้นนี่จึงเป็น อะไรที่เป็นธรรม และเสมอภาคซึ่งเราทุกคนต้อง จัดการให้ดีกับ เกมที่วางอยู่บน โต๊ะ

ซาฮาระกล่าวเสริมว่า

ระงับการพัฒนา

เช่นเดียว กับที่ เราเคยทำ มาแล้วในอดีต เราต่างก็ พยายามที่จะ ปรับปรุงรถแข่ง ในทุกจุดให้ดีขึ้น โดยไม่ให้ กระทบกับ สมดุลย์ของตัว รถโดยรวม”

ดูเหมือนว่า ในปี 2021 เราจะต้อง มองหากริด สตาร์ทที่ดีขึ้น นั่นคือการ ยกระดับรถแข่ง สำหรับการควอ ลิฟาย โดยไม่ให้ กระทบการบาลานซ์ของตัวรถ เมื่อใช้ในการ แข่งขันจริง ระงับการพัฒนา

ประสิทธิภาพ ในการควอลิฟาย นับเป็น “จุดอ่อน” ของ ซูซูกิที่เห็น ได้ชัด ในปีที่ผ่านมา โดย เมียร์ มี ค่าเฉลี่ยอันดับ สตาร์ทเพียง อันดับที่ 10 เท่านั้นหาก เฉลี่ยจากทุกเรซ ตลอดทั้งปี ส่วน อเล็กซ์ รินส์ ก็มี ค่าเฉลี่ยอยู่เพียง แถวที่ 2 เท่านั้น และรถแข่ง จี เอสเอ็กซ์-อาร์ อาร์ ของพวก เขาก็ไม่สามารถ คว้าโพลได้เลย ในปี 2020

อย่างไรก็ตาม เมียร์ และ รินส์ กลับสามารถพา รถแข่ง ซูซูกิฉลอง บนโพเดี้ย มรวมกันได้ถึง 11 ครั้ง โดยเป็น การคว้าชัยชนะ 2 กรังด์ปรีซ์ และเพียงพอจะ ทำให้พวกเขา คว้าแชมป์โลก มาครอง รวมถึง อันดับ 3 บนแช มเปี้ยนชิพเมื่อ จบฤดูกาล เทสแชสซีส์

หนึ่งในทฤษฎีที่ คาดการณ์ถึง ประสิทธิภาพที่ แตกต่างอย่าง สุดขั้วของ ซูซูกิในรอบ ควอลิ ฟาย และในเรซ คือคาแร็กเตอร์ ของรถแข่งที่มี ต่อยาง โดย
เชื่อ ว่า จีเอสเอ็กซ์- อาร์อาร์ มักทำ ความเร็วได้ดี เมื่อยางนิ่มมาก เป็นพิเศษ โดยเฉพาะในช่วงกลางถึง ท้ายๆ เรซ แต่ไม่ สามารถรีด ประสิทธิภาพ สูงสุดได้
ในการ ทำเวลาต่อรอบ เพียงรอบเดียว

Author: admins